วันพฤหัสบดีที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2554
วันพฤหัสบดีที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554
Microclimate
สัปดาห์นี้เรียนเรื่องจุลอุตุนิยมวิทยากและจุลภูมิอากาศ (micrometeorology and microclimate) อิทธิพลของปัจจัยทางอุตุนิยมวิทยาต่อการเกษตร
สัปดาห์หน้าจะสอบปลายภาค เริ่มเวลา 13.00 น. ข้อสอบปรนัย เป็น open book exam นำตำรา เอกสารต่างๆ เข้ามาดูได้
สัปดาห์หน้าจะสอบปลายภาค เริ่มเวลา 13.00 น. ข้อสอบปรนัย เป็น open book exam นำตำรา เอกสารต่างๆ เข้ามาดูได้
วันพฤหัสบดีที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2554
น้ำฟ้าและภัยธรรมชาติ
สัปดาห์นี้อาจาราย์ประพฤติจะบรรยายเรื่องน้ำฟ้าและภัยธรรมขชาติและการป้องกัน
- เมฆและน้ำฟ้า (Clouds and Precipitations)
- น้ำฟ้าชนิดต่างๆ
- การเกิดเมฆและฝน ชนิดของเมฆ
- การกระจายของปริมาณน้ำฝนในพื้นที่ต่างๆ ในช่วงเวลาต่างๆ
- อิทธิพลของน้ำฟ้าต่อการเกษตร
วันพฤหัสบดีที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2554
วันพฤหัสบดีที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2554
ลมและการส่งผ่านในอากาศ
สัปดาห์นี้ (26 สิงหาคม 54) เราจะเรียนกันเรื่องการเคลื่อนที่ของอากาศใกล้พื้นดิน ความปั่นป่วนของอากาศ และการส่งผ่านสิ่งต่างๆ ในอากาศซึ่งมีความสำคัญต่อพืช
วันพุธที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
สถานีอุตุนิยมวิทยา
ศุกร์นี้ 22 ก,ค. 54 อ.ประพฤติ ยอดไพบูล์ ผู้อำนวยการสำนักงานอุตุนิยมวิทยาสุโขทัย จะมาสอนเรื่องสถานีอุตุนิยมวิทยามาตรฐาน และสถานีอุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร รวมถึงหัวข้อทางอุตุนิยมวิทยาทั่วไปที่น่าสนใจ
สัปดาห์ถัดไป 29 ก.ค. 54 ตามแผนเดิม อาจารย์ จะพานิสิตไปดูงานสถานีอุตุนิยมวิทยาพิษณุโลก แต่เผอิญตรงกับวันสถาปนามหาวิทยาลัย จึงต้องมีการเปลี่ยนแปลง อ.ประพฤติจะนัดกับนิสิตอีกทีหนึ่ง
สัปดาห์ถัดไป 29 ก.ค. 54 ตามแผนเดิม อาจารย์ จะพานิสิตไปดูงานสถานีอุตุนิยมวิทยาพิษณุโลก แต่เผอิญตรงกับวันสถาปนามหาวิทยาลัย จึงต้องมีการเปลี่ยนแปลง อ.ประพฤติจะนัดกับนิสิตอีกทีหนึ่ง
วันศุกร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา เป็นวันที่สมเด็จพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าได้แสดง พระปฐมเทศนา หรือการแสดง พระธรรมครั้งแรก หลังจากที่ตรัสรู้ได้ 2 เดือน เป็นวันที่เริ่มประดิษฐานพระพุทธศาสนาเนื่องจากมีองค์ประกอบของ พระรัตนตรัยครบถ้วนคือ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นก่อนพุทธศักราช 45 ปี ในวันเพ็ญ (ขึ้น 15ค่ำ) เดือน 8 ดวงจันทร์ เสวยมาฆฤกษ์
การแสดงพระปฐมเทศนา ได้ทรงแสดงแก่ปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ปัจจุบันคือสารนาถ เมืองพาราณสี พระธรรมที่แสดงคือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เมื่อเทศนาจบ พระโกณฑัญญะ หนึ่งในปัญจวัคคีย์ ผู้ประกอบด้วย พระโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานาม และพระอัสสชิ ก็ได้ดวงตาเห็นธรรม มีความเห็นแจ้งชัดว่า
ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมนฺติ
สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งใดสิ่งนั้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา
http://www1.mod.go.th/heritage/religion/daytime/index2.htm
การแสดงพระปฐมเทศนา ได้ทรงแสดงแก่ปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ปัจจุบันคือสารนาถ เมืองพาราณสี พระธรรมที่แสดงคือ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร เมื่อเทศนาจบ พระโกณฑัญญะ หนึ่งในปัญจวัคคีย์ ผู้ประกอบด้วย พระโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานาม และพระอัสสชิ ก็ได้ดวงตาเห็นธรรม มีความเห็นแจ้งชัดว่า
ยํ กิญฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมนฺติ
สิ่งใดสิ่งหนึ่งเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งใดสิ่งนั้นย่อมดับไปเป็นธรรมดา
http://www1.mod.go.th/heritage/religion/daytime/index2.htm
วันพฤหัสบดีที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
อุณหภูมิและความชื้นในบรรยากาศ และเสถียรภาพของบรรยากาศ
สัปดาห์นี้นิสิตกลุ่มที่เหลือจะนำเสนอรายงานในช่วงเช้า
ในช่วงบ่ายอาจารย์จะบรรยายเรื่องอุณหภูมิและความชื้นในบรรยากาศซึ่งมีผลต่อเสถียรภาพของบรรยากาศ
ในช่วงบ่ายอาจารย์จะบรรยายเรื่องอุณหภูมิและความชื้นในบรรยากาศซึ่งมีผลต่อเสถียรภาพของบรรยากาศ
วันศุกร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
ข้อแนะนำในการใช้เพาเวอร์พอยท์นำเสนอ
วันนี้นิสิตกลุ่มแรกได้นำเสนอรายงานเรื่องภูมิอากาศของจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมีเนื้อหาค่อนข้างดี แต่ยังมีปัญหาเรื่องการใช้เพาเวอร์พอยท์นำเสนอ อาจารย์จึงขอให้กลุ่มอื่นๆ ปรับปรุงก่อนที่จะนำเสนอในคราวต่อไป และขอให้อ่าน ข้อแนะนำในการใช้เพาเวอร์พอยท์ ที่อาจาร์ยทำไว้เพื่อประกอบการปรับปรุง
วันพฤหัสบดีที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2554
การนำเสนอรายงานภูมิอากาศจังหวัด
สัปดาห์นี้นิสิตจะได้นำเสนอรายงานภูมิอากาศของจังหวัดที่ได้ไปค้นหามา
กลุ่มและรายชื่อนิสิต
กลุ่มและรายชื่อนิสิต
- อุบลราชธานี
- เชียงใหม่
- น่าน
- เลย
- เชียงราย
- นครราชสีมา
- สุราษฎร์ธานี
หลังจากการนำเสนอรายงานอาจารย์จะบรรยายเรื่องการกระจายความร้อนบนผิวโลก (Heat Distribution on Earth Surface)
วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2554
รังสีจากดวงอาทิตย์ (Solar Radiation)
สัปดาห์นี้เราจะเรียนกันเรื่องรังสีจากดวงอาทิตย์ องค์ประกอบ และอิทธิพลต่อกระบวนการต่างๆ ในบรรยากาศ และสิ่งมีชีวิต
อาจารย์จะเข้าสอนเฉพาะในช่วงบ่ายวันศุกร์นี้
อาจารย์จะเข้าสอนเฉพาะในช่วงบ่ายวันศุกร์นี้
วันพุธที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2554
Assignments 1 & 2
วันศุกร์ที่ผ่านมาเราได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรนี้ และได้เริ่มเรียนเรื่องอุตุนิยมวิทยาเบื้องต้น ตามด้วยเรื่องบรรยากาศโลก อาจารย์ได้ให้การบ้านไปทำสองเรื่อง (Assignment 1 & 2 ด้านซ้าย) เรื่องแรกให้ทำงานเป็นกลุ่ม หาข้อมูลอุตุนิยมวิทยาเบื้องต้นในจังหวัดที่สนใจ เรื่องที่สองให้ค้นคว้าเพิ่มเติม
ในเรื่องข้อมูลภูมิอากาศของจังหวัด อาจารย์ให้ส่งเป็น อีเมล์ แต่นึกขึ้นได้ว่านิสิตทุกคนควรได้รับทราบด้วยว่ากลุ่มอื่นๆ ทำอะไร เลยจะขอให้แต่ละกลุ่มส่งผู้แทนขึ้นมา สองหรือสามคน ให้บรรยายเกี่ยวกับจังหว้ดที่กลุ่มทำ กลุ่มละประมาณ 10 นาที่ โดยใช้ PowerPoint หรือโปรแกรมอื่นๆ ก็ได้ เริ่มในสัปดาห์หน้า (1/7/54)
ส่วน Assignment ที่สอง ไม่ต้องทำส่ง แต่นิสิตทุกคนควรจะตอบคำถามที่ถามได้
วันอังคารที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2554
ขอต้อนรับนิสิตภาคการศึกษาที่ 1/2554
สัปดาห์แรกนี้อาจารย์จะแนะนำวิชา ต่อด้วยเรื่องอุตุนิยมวิทยาเบื้องต้นและบรรยากาศของโลก
ขอให้นิสิตติดตาม BLOG นี้ทุกสัปดาห์เพื่อรับทราบข้อมูลและงานที่มอบหมายให้ทำเพิ่มเติม
วันศุกร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
วันศุกร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
จุลอุตุนิยมวิทยาและจุลภูมิอากาศเพื่อการเกษตร
สัปดาห์นี้อาจารย์พงษ์ศักดิ์ บรรยายเกี่ยวกับจุลอุตุนิยมวิทยา (micrometeorology) และจุลภูมิอากาศ (microclimatology) และหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร
สัปดาห์น้า ศุกร์ 18 ก.พ.จะสอบปลายภาค
เนื้อหาที่อ.ประพฤติ บรรยายทั้งหมด และเนื้อหาในสัปดาห์นี้
(Image from http://www.campbellsci.ca/Images/Apps_Micr.jpg)
วันศุกร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554
การวางแผนการเกษตรให้เหมาะกับสภาพภูมิอากาศ (Agricultural Planning with Climatic Consideration)
สัปดาห์นี้ อ.ประพฤติ บรรยายเรื่องการวางแผนการเกษตรให้เหมาะกับสภาพภูมิอากาศ (Agricultural Planning with Climatic Consideration) และจะพาินิสิตไปเยี่ยมชมสถานีอุตุนิยมวิทยาพิษณุโลก
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
วันพฤหัสบดีที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2554
ฝนเทียม (Artificial Rain)
สัปดาห์นี้ อ ประพฤติ บรรยายเรื่อง การทำฝนเทียม (Artificial Rain Making) และฝนหลวง
หลักการทำฝนเทียม ปฏิบัติการฝนหลวงในประเทศไทย
วันศุกร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2554
เมฆ และ น้ำฟ้า (Clouds and Precipitations)
สัปดาห์นี้ อ. ประพฤติ จะบรรยายเรื่อง
- น้ำฟ้าชนิดต่างๆ
- การเกิดเมฆและฝน
- ชนิดของเมฆ
- การกระจายของปริมาณน้ำฝนในพื้นที่ต่างๆ ในช่วงเวลาต่างๆ
- อิทธิพลของน้ำฟ้าต่อการเกษตร
*** นัดไปดูงานสถานีอุตุนิยมวิทยาพิษณุโลกวันศุกร์ 4 ก.พ. 2554 ภายหลังการสอนของ อ.ประพฤติ
(Image from: http://school.discoveryeducation.com/clipart/clip/raincld.html)
วันศุกร์ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2554
สถานีอุตุนิยมวิทยา (Meteorological Station)
สัปดาห์นี้ อ.ประพฤติ ยอดไพบูลย์ ผอ.สำนักงานอุตุนิยมวิทยาสุโขทัย บรรยายเกี่ยวกับ สถานีอุตุนิยมวิทยา ข้อมูลอุตุนิยมวิทยา และอุปกรณ์ตรวจวัดทางอุตุนิยมวิทยา ที่ใช้ในสถานีอุตุนิยมวิทยามาตรฐาน แผนที่อากาศ และการพยากรณ์อากาศ
ดูแผนการเรียนและข้อมูลเพิ่มเติม
(Image: สถานีอุตุนิยมวิทยาสุโขทัย Sukhothai Meteorological Station)
วันศุกร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2554
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)