วันพุธที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551
สวัสดีปีใหม่ 2552
สวัสดีปีใหม่นิสิตวิชาอุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตรทุกคน อาจารย์ขอให้นิสิตประสบความสำเร็จในสิ่งที่ปราถนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเรียน
วันพุธที่ 7 มกราคม 2552 อาจารย์ประพฤติจะเริ่มมาสอน
วันพฤหัสที่ 8 มกราคม 2552 สอบกลางภาค เวลา ลา18.00-19.30 ห้องสโลป
ข้อสอบปรนัย 80 ข้อ เปิดตำราได้
***เวลาและห้องอาจเปลี่ยนแปลง จะแจ้งอีกทีในวันที่ 7 มกราคม
วันพุธที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
เปลี่ยนแปลงวันสอบกลางภาค
วันนี้มีนิสิตหลายคนอยากให้เปลี่ยนวันสอบจากวันที่ 3 ธ.ค. เพราะจะไปชนกับตารางสอบกลาง และเนื่องจากจะมีการพระราชทานปริญญาฯ วันที่ 27 พ.ย อาจจะต้องงดการเรียนการสอนของเราในวันพุธที่ 26 พ.ย. เพราะต้องใช้ห้องฝึกซ้อมและประชุมนิสิตของคณะเกษตรฯ ที่จะรับปริญญา ดังนั้นเราอาจจะต้องเลื่อนสอบกลางภาคไปหลังปีใหม่ ซึ่งอาจารย์จะนัดอีกครั้งในวันพุธที่ 19 พ.ย.
สำหรับการบรรยายในวันพุธที่ 19 พ.ย.อาจจะต้องควบหัวข้อของวันที่ 26 เข้าด้วย ซึ่งจะทำให้เลิกชั้นเรียนช้าไปประมาณชั่วโมงหนึ่ง
วันนี้มีนิสิตหลายคนติดฝนเข้าฟังไม่ทัน อาจารย์จะบรรยายซ้ำชนิดย่อให้อีกครั้งในช่วงท้ายของวันที่ 19 พ.ย.
สำหรับการบรรยายในวันพุธที่ 19 พ.ย.อาจจะต้องควบหัวข้อของวันที่ 26 เข้าด้วย ซึ่งจะทำให้เลิกชั้นเรียนช้าไปประมาณชั่วโมงหนึ่ง
วันนี้มีนิสิตหลายคนติดฝนเข้าฟังไม่ทัน อาจารย์จะบรรยายซ้ำชนิดย่อให้อีกครั้งในช่วงท้ายของวันที่ 19 พ.ย.
วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
เสถึยรภาพของบรรยากาศ
สัปดาห์นี้เราจะเรียนเรื่อง เสถึยรภาพของอากาศหรือบรรยากาศ ซึ่งเป็นสิ่งที่มีผลต่อความเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ เราจะดูว่าทำไมจึงเกิดลม เมฆ ฝน ฯลฯ ขึ้นมาได้ และทำไมบางครั้งไม่เกิด
สัปดาห์นี้มี การบ้าน Assignmen 3 ให้ทุกคนทำส่งด้วย
สัปดาห์หน้า งดเรียน เนื่องจากอาจารย์ไม่อยู่ และเลื่อนสอบกลางภาคจากกำหนดเดิม 27 พฤศจิกายน 2551 ไปเป็นวันที่ 3 ธันวาคม 2551
วันอังคารที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2551
รังสีจากดวงอาทิตย์
สัปดาห์ที่แล้วเราศึกษาเรื่องบรรยากาศของโลกซึ่งเป็นส่วนที่มีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิต และเป็นส่วนที่มีปรากฏการณ์ต่างๆ ทางอุตุนิยมวิทยา เราได้เรียนรู้องค์ประกอบต่างๆ ของบรรยากาศ และความสำคัญขององค์ประกอบต่างๆ เราได้เห็นว่าไอน้ำในบรรยากาศ ถึงแม้จะมีได้ไม่เกินสี่เปอร์เซ็นต์ แต่ก็มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเกิดปรากฏการณ์ต่างๆ เราได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกว่าก๊าซเรือนกระจกและความสำคัญของมันต่อการเกิดภาวะโลกร้อน
อย่าลืมทำการบ้าน (Assignment 1 - 2) ในลิ้งค์ทางขวามือ และค้นคว้าเพิ่มเติมตามที่อาจารย์บอกในสัปดาห์ที่แล้ว
สัปดาห์นี้เราจะเรียนเรื่องพลังงานที่ขับเคลื่อนปรากฏการณ์ต่างๆ รวมถึงขับเคลื่อนชีวิตของพวกเรา นั่นคือพลังงานจากดวงอาทิตย์ (ภาพประกอบจากนิทานเรื่องพระอาทิตย์กับลมพายุ)
วันจันทร์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2551
บรรยากาศโลก
ก่อนที่เราจะศึกษาเรื่องกระบวนการต่างๆ ทางอุตุนิยมวิทยา เราต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบรรยากาศเป็นพื้นฐานก่อน สัปดาห์นี้เราจะศึกษาเรื่องบรรยากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องโครงสร้างและส่วนประกอบต่างๆ ที่สำคัญ
วันอาทิตย์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2551
ขอต้อนรับนิสิตภาคปลาย 2551
อาจารย์ขอต้อนรับนิสิตทุกคนที่ลงทะเบียนเรียนวิชาอุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร ขอให้นิสิตเข้ามาอ่านบล็อกนี้เป็นประจำเพื่อดาวน์โหลด เอกสารประกอบการบรรยาย เอกสารอ่านเพิ่มเติม การเปลี่ยนแปลงและข่าวสารเพิ่มเติมต่างๆ
ตามตารางสอนในหลักสูตรเรามีการเรียนภาคบรรยายสองชั่วโมงในวันพุธ 16.00-18.00 น. และภาคปฏิบัติสามชั่วโมงในวันพฤหัส 16.00-19.00 น. แต่เนื่องจากมีนิสิตเลือกลงเรียนเป็นจำนวนมากทำให้ไม่สะดวกที่จะมีภาคปฏิบัติ จึงจำเป็นต้องเปลี่ยนเป็นบรรยาย 3 ชั่วโมง และมีงานมอบหมายให้นิสิตไปค้นคว้าและส่งเป็นรายงานแทนภาคปฏิบัติ
การประเมินผลการเรียนประกอบด้วย
สอบกลางภาค 30%
สอบปลายภาค 30%
รายงาน 30%
การเข้าเรียน 10%
สำหรับวันพุธแรก (15 ต.ค.) นี้ อาจารย์ไม่สามารถมาสอนได้จึงต้องของดและเลื่อนเป็นวันพฤหัสแทน
ตามตารางสอนในหลักสูตรเรามีการเรียนภาคบรรยายสองชั่วโมงในวันพุธ 16.00-18.00 น. และภาคปฏิบัติสามชั่วโมงในวันพฤหัส 16.00-19.00 น. แต่เนื่องจากมีนิสิตเลือกลงเรียนเป็นจำนวนมากทำให้ไม่สะดวกที่จะมีภาคปฏิบัติ จึงจำเป็นต้องเปลี่ยนเป็นบรรยาย 3 ชั่วโมง และมีงานมอบหมายให้นิสิตไปค้นคว้าและส่งเป็นรายงานแทนภาคปฏิบัติ
การประเมินผลการเรียนประกอบด้วย
สอบกลางภาค 30%
สอบปลายภาค 30%
รายงาน 30%
การเข้าเรียน 10%
สำหรับวันพุธแรก (15 ต.ค.) นี้ อาจารย์ไม่สามารถมาสอนได้จึงต้องของดและเลื่อนเป็นวันพฤหัสแทน
วันอังคารที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2551
สอบปลายภาค
17 กันยายน 2551 16.00-17.30 น.
ปรนัย 60 ข้อของ อ.ประพฤติ 20 ข้อ ของ อ.พงษ์ศักดิ์ เปิดตำราได้
เฉพาะเนื้อหาที่เรียนในเทอมสอง
ใครยังไม่ได้ส่งโปรดส่งภายในวันศุกร์ที่ 19 กย 51
ขอให้นิสิตประสบความสำเร็จในการสอบ
วันพุธที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2551
วันพุธ 17 กันยายน 2551
*** สอบปลายภาค ***
วันพุธ 10 กันยายน 2551
งานวันเกษตรแห่งชาติ งดเรียนเนื่องจากห้องเรียนใช้จัดงาน
วันพุธ 3 กันยายน 2551
เรียนเรื่อง agricultural microclimate
วันเสาร์ที่ 30 สิงหาคม 2551
ศึกษาดูงานที่สถานีอุตุนิยมวิทยาพิษณุโลก เวลา 09.00-12.00 น.
วันพุธที่ 27 สิงหาคม 2551
การนำเสนอผลงานกลุ่มและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอุตุนิยมวิทยา ระหว่างผู้สอนและนักศึกษา เรียงลำดับที่นักศึกษาเลือกการนำเสนอ ลำดับที่ 1. เรื่องเครื่องมืออุตุนิยมวิทยา 2.ฝนหลวง 3.ภัยธรรมชาติโคลนถล่มดินถล่ม 4. อันตรายจากพายุฝนฟ้าคะนอง 5.วัฏจักรของน้ำ 6.การพยากรณ์อากาศอากาศ 7.สตอมเซอจ (Storm Surge) 8. แผ่นดินไหว 9.ภาวะโลกร้อน
วันพุธที่ 20 สิงหาคม 2551
1.การเกิดสตอมเซอจ (Storm Surge) ในอ่าวไทยตอนบน
2. ความรู้พื้นฐานทั่วไปเกี่ยวกับแผ่นดินไหว
http://www.tmdseismology.com/tmd/index.php
3.การบริหารจัดการน้ำสำหรับพื้นที่การเกษตร
*** สอบปลายภาค ***
วันพุธ 10 กันยายน 2551
งานวันเกษตรแห่งชาติ งดเรียนเนื่องจากห้องเรียนใช้จัดงาน
วันพุธ 3 กันยายน 2551
เรียนเรื่อง agricultural microclimate
วันเสาร์ที่ 30 สิงหาคม 2551
ศึกษาดูงานที่สถานีอุตุนิยมวิทยาพิษณุโลก เวลา 09.00-12.00 น.
วันพุธที่ 27 สิงหาคม 2551
การนำเสนอผลงานกลุ่มและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านอุตุนิยมวิทยา ระหว่างผู้สอนและนักศึกษา เรียงลำดับที่นักศึกษาเลือกการนำเสนอ ลำดับที่ 1. เรื่องเครื่องมืออุตุนิยมวิทยา 2.ฝนหลวง 3.ภัยธรรมชาติโคลนถล่มดินถล่ม 4. อันตรายจากพายุฝนฟ้าคะนอง 5.วัฏจักรของน้ำ 6.การพยากรณ์อากาศอากาศ 7.สตอมเซอจ (Storm Surge) 8. แผ่นดินไหว 9.ภาวะโลกร้อน
วันพุธที่ 20 สิงหาคม 2551
1.การเกิดสตอมเซอจ (Storm Surge) ในอ่าวไทยตอนบน
2. ความรู้พื้นฐานทั่วไปเกี่ยวกับแผ่นดินไหว
http://www.tmdseismology.com/tmd/index.php
3.การบริหารจัดการน้ำสำหรับพื้นที่การเกษตร
วันพุธที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2551
13 สิงหาคม 2551 อ.ประพฤติ สอนเรื่อง
- El NinoAnd La Nina Phenomenae
- Regional ClimateThailand(ภูมิอากาศที่จำเป็นต่อการวางแผนการเกษตรในประเทศไทย)
- ฝนหลวง http://www.royalrainmaking.thaigov.net/index1.php
วันอังคารที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2551
การบรรยายของ อ.ประพฤติ
6 ส.ค. 2551 - เมฆ และ น้ำฟ้า (Clouds and Precipitations) น้ำฟ้าชนิดต่างๆการเกิดเมฆและฝน การตรวจวจวัดการตกของกลุ่มฝนด้วย เรดาร์ตรวจอาการhttp://www2.tmd.go.th/radar/http://www.cmmet.tmd.go.th/radar/phit_radar.htm
ชนิดของเมฆ การกระจายของปริมาณน้ำฝนในพื้นที่ต่างๆ ในช่วงเวลาต่างๆอิทธิพลของน้ำฟ้าต่อการเกษตร
- แผนที่อากาศ และการพยากรณ์อากาศ
- สถานีตรวจวัดอากาศอัตโนมัติ http://aws.nakhonthai.net/
30 ก.ค. 2551 - สถานีอุตุนิยมวิทยา และอุปกรณ์ตรวจวัดทางอุตุนิยมวิทยาศึกษาเกี่ยวกับสถานีอุตุนิยมวิทยา ข้อมูลที่เก็บบันทึก เครื่องมือต่างๆที่ใช้ในสถานีอุตุนิยมวิทยา - สถานีอุตุนิยมวิทยาของกรมอุตุนิยมวิทยาส่วนประกอบของสถานีอุตุนิยมวิทยา และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในสถานีตามมาตรฐาน WMO
- แผนที่อากาศ และการพยากรณ์อากาศ
- สถานีตรวจวัดอากาศอัตโนมัติ http://aws.nakhonthai.net/
30 ก.ค. 2551 - สถานีอุตุนิยมวิทยา และอุปกรณ์ตรวจวัดทางอุตุนิยมวิทยาศึกษาเกี่ยวกับสถานีอุตุนิยมวิทยา ข้อมูลที่เก็บบันทึก เครื่องมือต่างๆที่ใช้ในสถานีอุตุนิยมวิทยา - สถานีอุตุนิยมวิทยาของกรมอุตุนิยมวิทยาส่วนประกอบของสถานีอุตุนิยมวิทยา และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในสถานีตามมาตรฐาน WMO
วันพุธที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
สอบกลางภาค 16 ก.ค. 51
สอบแบบปรนัย 80 ข้อ เวลา หนึ่งชั่วโมงสามสิบนาที เปิดตำราได้
เนื้อหาที่สอบรวมของ อ.พงษ์ศักดิ์ ตั้งแต่แรกจนถึงเรื่องลมในสัปดาห์ที่แล้ว
ขอให้นิสิตได้คะแนนดีทุกคน :)
วันพุธที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2551
Winds, windprofiles and turbulent transport
สัปดาห์นี้เรียนเรื่องลม ความเร็วลม และแง่มุมหนึ่งของลมซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการผลิตทางการเกษตร คือการส่งผ่านในอากาศอันเกี่ยวข้องกับขบวนการสังเคราะห์แสง การหายใจ และการคายน้ำของพืช
วันพุธที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2551
เสถียรภาพของบรรยากาศ
สัปดาห์นี้เรียนเรื่อง
ความชื้น อุณหภูมิ และความเสถียรของบรรยากาศ (Humidity, Temperature and Atmospheric Stability)
ความชื้น อุณหภูมิ และความเสถียรของบรรยากาศ (Humidity, Temperature and Atmospheric Stability)
วันอังคารที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551
Solar Radiation
สัปดาห์นี้เรียนเรื่องรังสีจากดวงอาทิตย์ กฎที่เกี่ยวกับการแผ่รังสีและพลังงานรังสี ส่วนประกอบของรังสีจากดวงอาทิตย์ การแผ่รังสีของโลก สมดุลของรังสี (radiation balance) พลังงานที่ถ่ายทอดไปขับเครื่องปรากฎการณ์ต่างๆ พลังงานที่ใช้ในการสังเคราะแสง พลังงานชีวมวลซึ่งเป็นแหล่งพลังงานทดแทนที่สำคัญอย่างหนึ่งของเรา
วันพุธที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2551
บรรยากาศของโลก (Earth's Atmosphere)
สัปดาห์นี้เราจะเรียนกันเรื่องบรรยากาศของโลก ส่วนประกอบที่สำคัญของบรรยากาศ ชั้นของบรรยากาศ ความสำคัญของส่วนประกอบต่อการเกิดปรากฎการณ์ทางอุตุนิยมวิทยา และประเด็นสำคัญๆ ที่เรากำลังสนใจในปัจจุบัน เช่นภาวะโลกร้อน (พาวเวอร์พอยท์ที่อาจารย์ใช้ประกอบการสอนเรื่องนี้ได้รับการปรับปรุงใหม่แล้วในวันนี้)
นิสิตควรติดตามข่าวสารเกี่ยวกับสภาพอากาศของประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ตลอดจนการเกิดภัยธรรมชาติ นอกจากนี้ควรค้นคว้าเพิ่มเติมในเรื่อง:
นิสิตควรติดตามข่าวสารเกี่ยวกับสภาพอากาศของประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ตลอดจนการเกิดภัยธรรมชาติ นอกจากนี้ควรค้นคว้าเพิ่มเติมในเรื่อง:
- ภาวะโลกร้อน
- ชั้นโอโซน
- พิธีสารมอนทรีล
- พิธีสารเกียวโต
- คาร์บอนเครดิต
- การซื้อขายก๊าซเรือนกระจก
วันพุธที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2551
เปลี่ยนแปลงชั่วโมงเรียน
จากตารางสอนเดิม บรรยาย 2 ชั่วโมงในวันจันทร์ และปฏิบัติ 3 ชั่วโมงในวันพุธ
เปลี่ยนเป็น บรรยาย 3 ชั่วโมง (+ assignment) ในวันพุธ 16.00-19.00 น.
(งดเรียนวันจันทร์)
ในระหว่างภาคการศึกษานี้ เราจะไปดูงานที่สถานีอุตุนิยมวิทยาพิษณุโลก ซึ่งจะนัดหมายกันภายหลัง
เปลี่ยนเป็น บรรยาย 3 ชั่วโมง (+ assignment) ในวันพุธ 16.00-19.00 น.
(งดเรียนวันจันทร์)
ในระหว่างภาคการศึกษานี้ เราจะไปดูงานที่สถานีอุตุนิยมวิทยาพิษณุโลก ซึ่งจะนัดหมายกันภายหลัง
วันจันทร์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2551
ขอต้อนรับนิสิตวิชาอุตุฯ.เกษตร เทอมต้น 2551
หวังว่านิสิตจะได้ความรู้และนำความรู้ในวิชานี้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อไป
สังเกตท้องฟ้าและเมฆยามเช้าในภาพ เมื่อเรียนวิชานี้แล้วนิสิตควรจะเข้าใจได้ว่าเป็นเมฆชนิดไหน เกิดขึ้นได้อย่างไร
สัปดาห์นี้ เราจะทบทวนความรู้เกี่ยวกับอุตุนิยมวิทยา และภูมิอากาศเบื้องต้น
วันพฤหัสบดีที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
วันพฤหัสบดีที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
เตรียมสอบปลายภาค
สัปดาห์นี้นีสิตจะได้เรียนกับ อ.ประพฤติ ทั้งวันพฤหัส วันศุกร์ และ วันเสาร์ เป็นครั้งสุดท้าย ก่อนที่เราจะสอบปลายภาคในวันศุกร์ที่ 15 ก.พ. ขอให้นิสิตตั้งใจเรียน รองรับความรู้จากอาจารย์ให้มากที่สุด
และขอให้ทุกคนประสบความสำเร็จในการสอบ
และขอให้ทุกคนประสบความสำเร็จในการสอบ
วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2551
การใช้ข้อมูลอุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
สัปดาห์นี้เราจะดูข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยาบางอย่างและประโยชน์ในการเกษตร
สัปดาห์หน้า อ.ประพฤติ จะมาสอนต่อ
***** สอบปลายภาควันศุกร์ 15 กุมภาพันธ์ 2551 16.00-17.30 น.
สัปดาห์หน้า อ.ประพฤติ จะมาสอนต่อ
***** สอบปลายภาควันศุกร์ 15 กุมภาพันธ์ 2551 16.00-17.30 น.
วันพฤหัสบดีที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2551
สัปดาห์นี้ทำแบบฝึกหัดจากการเรียนในสัปดาห์ที่แล้ว
เรื่อง Growing Degree Day และ Crop Heat Unit
Assignment
อ.ประพฤติ จะมาสอนต่อใน วันที่ 7-8 กุมภาพันธ์ 2551 และเยี่ยมชมสถานีอุตุนิยมวิทยาพิษณุโลก วันเสาร์ที่ 9 ก.พ.
คะแนนสอบกลางภาค
วันพฤหัสบดีที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2551
วันอังคารที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2551
พฤ. 10 - ศ. 11 ม.ค. งดเรียน
จะไม่มีการเรียนการสอนในวันพฤหัสบดีที่ 10 มกราคม 2551 และ ศุกร์ที่ 11 มกราคม 2551
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)