วันศุกร์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2550

อาจารย์ประพฤติจะมาสอนสัปดาห์นี้

************
อ.ประพฤติจะสอนในวัน
พฤหัส 13 ธ.ค. - ศุกร์ 14 ธ.ค. 2550
พฤหัส 3 ม.ค. - ศุกร์ 4 ม.ค. 2551

งดเรียน 20-21 ธ.ค 50 (รับปริญญา)
งดเรียน 27-28 ธ.ค. 50 (สัปดาห์สอบ)
************

สุขสันต์ปีใหม่สำหรับสินิตทุกคน :)

วันพฤหัสบดีที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2550

สอบกลางภาค


วันนี้เป็นวันสอบกลางภาค
ข้อสอบแบบปรนัย 60 ข้อ ใช้เวลา 60 นาที
เปิดตำราได้ระหว่างสอบ
ขอให้นิสิตโชคดี

วันพฤหัสบดีที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

ลม ความปั่นป่วนของอากาศ และการส่งผ่านในอากาศ

สัปดาห์นี้เรียนเรื่องลม ความเร็วลมเหนือพื้นดิน boundary layer ความปั่นป่วนของอากาศ และการส่งผ่านมวล โมเมนตั้มและความร้อนในอากาศ

Assignment 4
เขียนกร๊าฟความเร็วลมที่ระดับต่างๆ เหนือพื้นดินจากข้อมูลใน http://pyuhun.googlepages.com/Ag-Met-Exercise-WindProfile.pdf
ประมาณค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ที่กำหนด

วันพฤหัสบดีที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

อุณหภูมิ (temperature) ความชื้น (humidity) และเสถียรภาพของบรรยากาศ (Atmospheric Stability)

สัปดาห์นี้เราเรียนเกี่ยวกับเสถียรภาพของบรรยากาศ (Atmospheric Stability)

วันศุกร์งดเรียนเนื่องจากอาจารย์ต้องไปราชการต่างจังหวัด


Assignment 3
เขียนกร๊าฟแสดงอุณหภูมิที่ระดับต่างๆ เปรียบเทียบกับ Dry Adiabatic Lapse Rate และ Wet Adiabatic Lapse Rate อธิบายเสถึยรภาพของอากาศขณะนั้น
ดาวน์โหลดข้อมูลและกระดาษกร๊าฟ

วันพฤหัสบดีที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

รังสีจากดวงอาทิตย์


สัปดาห์นี้จเรียนเรื่องรังสีจากดวงอาทิตย์

อ่านเพิ่มเติม

UV และ โอโซน ใน http://ozone.tmd.go.th/

ศึกษารังสีดวงอาทิตย์ของประเทศไทยจาก http://www2.dede.go.th/renew/sola/mapmenu.html

Assignment 2

จากข้อมูล Solar Radiation ในไฟล์

http://pyuhun.googlepages.com/ag-met-solar-rad-thai.xls

เขียนกร๊าฟของพลังงานรังสีจากด้วงอาทิตย์ในเดือนต่างๆ ของจังหวัดที่เลือกทำใน Assignment แรก ถ้าไม่มีจังหวัดที่ต้องการให้ใช้จังหวัดที่ใกล้ที่สุดในไฟล์

คำนวณปริมาณพลังงานรังสีทั้งหมดที่ได้รับในหนึ่งปี
ถ้า 1 กรัมของชีวมวลแห้งสันดาปได้พลังงาน 17 kilojoules
พลังงานรังสีที่ได้รับในหนึ่งปีจะเปลี่ยนเป็นชีวมวลแห้งได้กี่กิโลกรัมต่อไร่
ถ้าผลผลิตมวลแห้งของพืชชนิดหนึ่งเท่ากับ 10 ตันต่อไร่ พืชมีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนพลังงานรังสีจากดวงอาทิตย์เป็นมวลแห้งกี่เปอร์เซนต์

วันพฤหัสบดีที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

บรรยากาศของโลก



สัปดาห์นี้เราจะเรียนเรื่องบรรยากาศของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งส่วนประกอบของบรรยากาศ และความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตบนพื่นผิวโลก

ค้นคว้าเพิ่มเติม
•ทำไมปัจจุบันเราจึงต้องกังวลในเรื่องภาวะโลกร้อน อะไรเป็นสาเหตุ และเราจะมีทางแก้ไขอย่างไร
•พิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) คืออะไร กระทำขึ้นเมื่อไร มีใครลงนาม ไม่ได้ลงนาม
•การประชุมผู้นำนานาชาติเรื่องภาวะโลกร้อนครั้งล่าสุดกระทำที่ไหน มีข้อสรุปอย่างไร

  • อ่านบทความเรื่องโอโซน ก๊าซเรือนกระจก และรังสีอุลตร้าไวโอเล็ทใน http://ozone.tmd.go.th/

วันพฤหัสบดีที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550

Assignment 1

ภูมิอากาศของจังหวัดต่างๆ ในประเทศไทย

เลือกจังหวัดใดจังหวัดหนึ่งของประเทศไทยที่สนใจ ค้นหาข้อมูลภูมิอากาศ เขียนตารางและกร้าฟแสดงการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยต่อไปนี้ในรอบปี

  1. ปริมาณน้ำฝน
  2. อุณหภมิ (สูงสุด ต่ำสุด และ เฉลี่ย)
  3. ความชื้นสัมพัทธ์
  4. ความเร็วลม
โดยใช้ค่าเฉลี่ยจากหลายปี
อธิบายภูมิอากาศของจังหวัดดังกล่าวจากข้อมูลที่ได้
และค้นหาว่าจังหวัดนั้นมีการเกษตรอะไรบ้างที่สำคัญ อธิบายว่าทำไมจึงเป็นเช่นนั้นในแง่ของความเหมาะสมกับภูมิอากาศ

ขอต้อนรับนิสิตภาคการศึกษาที่ 2


อาจารย์หวังว่านิสิตที่เรียนวิชานี้จะได้รับความรู้ที่เป็นประโยชน์ นำไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาและการงานในอนาคตได้

วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550

สอบปลายภาค

ขอให้นิสิตประสบความสำเร็จในการสอบ

วันพฤหัสบดีที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2550

กำหนดสอบปลายภาค

สอบปลายภาควันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน 2550 เวลา 16.00 - 17.30 น
ครอบคลุมเนื้อหาของ อ.ประพฤติและ อ.พงษ์ศักดิ์ หลังสอบกลางภาค

Micro-meteorology and Micro-climate

สัปดาห์นี้ เรียนเรื่องจุลอุตุนิยมวิทยาและจุลภูมิอากาศเพื่อการเกษตร

วันพุธที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2550

งดเรียนสัปดาห์นี้

อ. พงษ์ศักดิ์ ติดราชการประชุมที่กทม. จึงของดการสอนวันพฤหัศ 30 สค. และ ศุกร์ 31 สค.

วันพฤหัสบดีที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2550

เปลี่ยนแปลง ***

16 สค. มีนิสิตมาเรียนเพียงสี่ห้าคน สอบถามดูได้ความว่ากลับบ้านกันหมดเพราะหยุดถึงวันจันทร์ เลยต้องโทรแจ้งอาจารย์ประพฤติงดสอนวันนี้ (ศุกร์ 17 สค.)และขอให้อาจารย์มาสอนวันพฤหัสที่ 23 สค. แทน
อ.ประพฤติจะมาสอนวัน:
พฤหัส 23 สิงหาคม และ
ศุกร์ 24 สิงหาคม
และดูงานวันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม
รถ(เมล์บ้านเรา) จะออกจากคณะเวลา 09.00 น
กลับถึง ม.ประมาณ 12.00 น.

วันพฤหัสบดีที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2550

อ.ประพฤติ + ผลสอบกลางภาค


อาจารย์ประพฤติจะมาบรรยายในวันศุกร์ที่ 17 สค. และ 31 สค.และพาไปดูงาน 1 กย.50

ดูผลสอบและเฉลยได้จากลิ้งค์ข้างขวา

ศุกร์ 10 สค.50 งดเรียน

วันพฤหัสบดีที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2550

สอบกลางภาค + อ.ประพฤติ + ดูงาน

สัปดาห์ที่แล้วนิสิตพร้อมใจกันไม่เข้าเรียนเนื่องจากเป็นสัปดาห์สอบ
วิชานี้เลื่อนไปสอบพรุ่งนี้ วันศุกร์ที่ 3 สิงหาคม 2550
วันนี้ให้นิสิตทำภาคปฏิบัติของเรื่อง wind profile
ซึ่งเลื่อนมาจากสัปดาห์ที่แล้ว

อ.ประพฤติจะกลับมาสอนต่อในวันศุกร์ที่ 31 สิงหาคม
และจะพานิสิตไปดูงานในวันเสาร์ที่ 1 กันยายน

วันพฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

ปฏิบัติ เรื่อง Wind Profile


พฤ. 26 กค. 50 ให้นิสิตทดลองพลอตกราฟความเร็วลมที่ระดับต่างๆ และหาพารามิเตอร์ต่างๆ ของ logarithmic wind profile

วันพฤหัสบดีที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

Wind and Turbulent Transport

วันพฤ.12 กค. 50 เรียนเรื่องลม ความปั่นป่วนของอากาศ และการส่งผ่านมวล และความร้อนในอากาศ

*** สัปดาห์ หน้า (19-20 กค) อาจารย์ประพฤติ ยอดไพบูลย์ จะมาสอนแทน ***

วันพฤหัสบดีที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

เสถียรภาพของบรรยากาศ (Atmospheric Stability)

*** ตั้งแต่สัปดาห์นี้ ย้ายภาคปฏิบัติจากวันศุกร์มาต่อท้ายภาคบรรยายวันพฤหัสบดี ***

พฤหัส 5 กค 50 บรรยายเรื่องเสถียรภาพของบรรยากาศ
ทดลองปฏิบัติโดยพล็อตกร้าฟของอุณหภูมิอากาศที่ระดับความสูงต่างๆ เปรียบเทียบกับ Adiabatic Lapse Rate











วันพฤหัสบดีที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550

วันพฤหัสบดี 28 มิ.ย. 50 บรรยายเรื่องรังสีจากดวงอาทิตย์

วันศุกร์ 29 มิ.ย. 50 ภาคปฏิบัติ เริ่มการรายงานเรื่องภูมิอากาศของประเทศและจังหวัดต่างๆ

วันพุธที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2550

**** เปลี่ยนแปลง ****

วันพฤหัสที่ 14 มิ.ย. จะมีบรรยายเรื่องบรรยากาศโลก - อ่านเอกสารประกอบการบรรยาย และ The LESA Project
วันศุกร์ที่ 15 มิ.ย. งดภาคปฏิบัติ เนื่องจากอาจารย์ไปราชการต่างจังหวัด ให้นิสิตเตรียมทำรายงานภมิอากาศ
วันพฤหัส 21 - ศุกร์ 22 มิย งดการสอน เนื่องจากงานเกษตรนเรศวร (20-24 มิย)

วันศุกร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2550

Assignment 1 : รายงานเรื่องภูมิอากาศ

  • ให้นิสิตทำงานเป็นกลุ่ม ทำรายงานเรื่องภูมิอากาศและอิทธิพลของภูมิอากาศต่อการเกษตรในจังหวัดและประเทศที่เลือก ควรนำเสนอสถิติน้ำฝน อุณหภมิ ความชื้น ลม ปริมาณแสงอาทิตย์ ประกอบกับสภาพทางภูมิศาสตร์
  • ทำรายงานเป็น PowerPoint นำเสนอในช่วงภาคปฏิบัติ (บ่ายวันศุกร์) ใช้เวลาประมาณกลุ่มละ 15 นาที นิสิตที่ฟังจะเป็นผู้ร่วมให้คะแนนการนำเสนอ

วันพฤหัสบดีที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2550

ขอต้อนรับนิสิตวิชาอุตุฯ เกษตร เทอมต้น ๒๕๕๐

ขอให้ประสบความสำเร็จได้เกรดดีๆ (ไม่ใช่ D) ทุกคน
แวะเข้ามาอ่านบล็อกนี้เป็นประจำเพื่อรับข่าวสารเพิ่มเติม

ประมวลรายวิชา
บรรยาย วันพฤหัสบดี 16.00-18.00 น. ห้อง AG2103
ปฏิบัติ วันศุกร์ 16.00-19.00 น. ห้อง AG2103
บรรยายครั้งที่ 1 วันพฤหัสบดี 7 มิถุนายน 2550 :
แนะนำวิชาอุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร
อุตุนิยมวิทยาเบื้องต้น
ปฏิบัติครั้งที่ 1 วันศุกร์ 8 มิถุนายน 2550 : งด :)

Assignment: ค้นคว้าและนำเสนอรายงานสภาพภูมิอากาศสัมพันธ์กับการเกษตรของ
  • จังหวัด
  • ประเทศ
ที่เลือก โดยทำงานเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน

ติดต่ออาจารย์ พงษ์ศักดิ์ อยู่หุ่น โทร.ภายใน 2800 มือถือ 081 517 1490, 089 589 514 2146
Email: phongsaky@nu.ac.th

วันพฤหัสบดีที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2550

ยินดีด้วย

ขอแสดงความยินดีกับนิสิตทุกคนที่สอบผ่านวิชาอุตุนิยมวิทยาเพื่อการเกษตร

วันพุธที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550

สอบปลายภาค

วันจันทร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2550 เวลา 17.00-19.00 น. ห้อง AG2103
ปรนัย เลือกคำตอบ 80 ข้อ ในเรื่องที่ยังไม่ได้สอบกลางภาค (อ.ประพฤติ 60 + อ.พงษ์ศักดิ์ 20)
นิสิตที่ยังไม่ได้ส่งรายงาน ต้องส่งภายในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2550

บรรยายเรื่องจุลอุตุนิยมวิทยา

เอกสารประกอบการบรรยาย
http://pyuhun.googlepages.com/micrometeorology.pps

วันพฤหัสบดีที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550

อ.พงษ์ศักดิ์ บรรยายวันที่ 7 กุมภาพันธ์ แทน อ.ประพฤติ

อ.ประพฤติ แจ้งว่าติดงานรับเสด็จที่สุโขทัย ขอเลื่อนไปบรรยายรวมในสัปดาห์ถัดไป 14-15 กพ.
อ. พงษ์ศักดิ์ จะเข้าบรรยายในวันที่ 7 กพ. แทน

ดูงานสถานีอุตุนิยมวิทยาสุโขทัย

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 50
ขึ้นรถที่ด้านหลังคณะเกษตรศาสตร์ฯ รถออก 7.00 น.
ไม่ต้องนำกระเป๋าหรือเป้ติดตัวไปเพราะจะมีด่านตรวจ
เตรียมค่าอาหารกลางวันไปเอง

วันพุธที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2550

บรรยาย วันที่ 31 ม.ค. 50

การใช้น้ำของพืช
http://pyuhun.googlepages.com/cropwateruse.pps

อ่านเพิ่มเติมเรื่อง Evapotranspiration และ Class A Pan

Determining Evapotranspiration with Evaporation Pans - B.C. ...
File Format: PDF/Adobe Acrobat - View as HTMLClass 'A' Pan. The Class A evaporation pan (Figure 1) is a universally used standard-sized. pan with a diameter of 1.2 m and a depth of 250 mm. ...www.agf.gov.bc.ca/resmgmt/publist/500series/577100-6.pdf


CROP WATER NEEDS
The best known pans are the Class A evaporation pan (circular pan) (Fig. ... For the Class A evaporation pan, the K pan varies between 0.35 and 0.85. ...www.fao.org/docrep/S2022E/s2022e07.htm - 126k - Cached - Similar pages


IRRIGATION WATER NEEDS

วันพฤหัสบดีที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2550

เอกสารที่มอบหมายให้อ่านเรื่องสมดุลย์ของพลังงาน

พลังงานและการถ่ายทอดพลังงานในระบบเกษตรนิเวศhttp://www.mcc.cmu.ac.th/mcceng/graduate/Agro723/Reading_Materials/Energy%203.html

สมดุลของพลังงานในป่าเขตร้อน
http://www.forest.ku.ac.th/forestbiology/Tropical%20forest/Chap5.pdf

ภาวะเรือนกระจก
http://www.lesa.in.th/energy/planet_budget/budget_index.htm

บทที่ 4 การระเหยและการคายน้ำ
http://pirun.ku.ac.th/~fengesk/209241/04_Evaporation.pdf

ดูงานสถานีอุตุนิยมวิทยาสุโขทัย

อย่าลืมดูงานที่สถานีอุตุนิยมวิทยาสุโขทัย วันเสาร์ที่ 3 กุมภาพันธ์ 2550 ขึ้นรถ 7.00 น. ที่คณะเกษตรศาสตร์ฯ